ข้อมูลเทศบาล
๑. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐาน
แนวทางการพัฒนา
๑.๑ การก่อสร้าง ปรับปรุง บำรุงรักษาถนน สะพาน ทางเท้า และท่อระบายน้ำ
๑.๒ การก่อสร้าง ปรับปรุง บำรุงรักษาสาธารณูปโภค สาธารณูปการและสิ่งก่อสร้างอื่นๆ
๑.๓ การพัฒนาระบบจราจร
๑.๔ การพัฒนาแหล่งน้ำเพื่อการอุปโภคและบริโภค
๑.๕ การวางและจัดทำผังเมือง
๒. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
แนวทางการพัฒนา
๒.๑ การพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐานในระบบ
๒.๒ การพัฒนาการศึกษานอกระบบ
๒.๓ การส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น
๒.๔ การส่งเสริมพัฒนาการศึกษาของเทศบาล
๒.๕ การส่งเสริมศาสนา วัฒนธรรมและประเพณีอันดีงามของท้องถิ่น
๓. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
แนวทางการพัฒนา
๓.๑ การบำบัดและกำจัดขยะ
๓.๒ การบำบัดและฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
๔. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการสร้างสังคมเข้มแข็งและยึดมั่นในหลักธรรมภิบาล
แนวทางการพัฒนา
๔.๑ การพัฒนาบริหารจัดการขององค์กรปกครองท้องถิ่นให้โปร่งใสตรวจสอบได้
๔.๒ การพัฒนาและเสริมสร้างความเข้มแข็งและพัฒนาศักยภาพของชุมชนประชาคมในทุกด้าน
๕. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านความมั่นคง การเมือง การปกครอง การบริหารจัดการ และการมีส่วนร่วมของประชาชน
แนวทางการพัฒนา
๕.๑ การพัฒนาและเพิ่มประสิทธิภาพของบุคลากรด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
๕.๒ การสนับสนุนกิจกรรมการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยและจัดหาตรวจสอบอุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้
๕.๓ การพัฒนาบุคลากรและการบริการให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
๕.๔ การพัฒนาและปรับปรุง อาคารสถานที่ เครื่องมือ เครื่องใช้ในการบริหารงาน และการทำงานของเทศบาล
๕.๕ การส่งเสริมและสนับสนุนการปกครองในระบอบประชาธิปไตยและการจัดกิจกรรมในวันสำคัญ ต่าง ๆ
๕.๖ การส่งเสริมและสนับสนุนให้ชุมชนมีความเข้มแข็ง
๖. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการส่งเสริมสุขภาพอนามัยและชีวิตของประชาชน
แนวทางการพัฒนา
๖.๑ การส่งเสริมสุขภาพอนามัยของประชาชน
๖.๒ การจัดกิจกรรมด้านการควบคุม/ป้องกันโรคพร้อมทั้งการเฝ้าระวัง
๖.๓ การจัดกิจกรรมด้านสุขาภิบาลมีการปรับปรุงด้านสุขาภิบาลให้ถูกสุขลักษณะ
๖.๔ การพัฒนาฟื้นฟูสภาพให้กับผู้ได้รับผลกระทบต่อสุขภาพ
๖.๕ การส่งเสริมกีฬาและนันทนาการ
๗. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการท่องเที่ยว
แนวทางการพัฒนา
๗.๑ การส่งเสริมการท่องเที่ยว
๘. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านเศรษฐกิจและการแก้ไขปัญหาความยากจน
แนวทางการพัฒนา
๘.๑ การส่งเสริมและสนับสนุนการประกอบอาชีพหลักและอาชีพเสริม
๘.๒ การส่งเสริมและสนับสนุนการเกษตรผสมผสาน(เกษตรทฤษฎีใหม่)
๘.๓ การส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชนมีส่งร่วมในการแก้ไขปัญหาความยากจน
๘.๔ การเกษตรธรรมชาติ
๙. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
แนวทางการพัฒนา
๙.๑ การขยายโอกาสเข้าถึงเทคโนโลยี
๙.๒ การจัดหาอุปกรณ์ที่เกี่ยวกับระบบเทคโนโลยีสารสนเทศสาธารณะและประชาชนให้สามารถเข้าถึงบริการสาธารณะได้อย่างเสมอภาค
วิสัยทัศน์องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดเชียงใหม่
“เป็นกลไกในการและตอบสนองนโยบายของรัฐ และเป็นองค์กรหลักในการพัฒนาท้องถิ่น บนพื้นฐานของความเข้าใจในปัญหาและศักยภาพของท้องถิ่น ด้วยการบูรณาการ การบริหารจัดการในพื้นที่อย่างมีประสิทธิภาพ”
กรอบยุทธศาสตร์การพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
๑.การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน
๒.การพัฒนาเศรษฐกิจตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปสู่ความยั่งยืน
๓.การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและระบบนิเวศน์อย่างยั่งยืน
๔.การอนุรักษ์ ฟื้นฟู และสืบสาน ศิลปวัฒนธรรม จารีตประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่น
๕.การพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน
๖.การจัดระเบียบชุมชน สังคมและการรักษาความสงบเรียบร้อย
๗.การพัฒนาการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี
ทิศทางการพัฒนา
๒.ทิศทางการพัฒนา
๒.๑ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
แผนพัฒนาประเทศในตามแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๐ มุ่งสู่ “สังคมอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกัน”
ภายใต้แนวปฏิบัติของ “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”
เห็นควรกำหนดพันธกิจของการพัฒนาประเทศ ดังนี้
(๑) พัฒนาคนให้มีคุณภาพ คุณธรรมนำความรอบรู้อย่างเท่าทัน
(๒) เสริมสร้างเศรษฐกิจให้มีคุณภาพ เสถียรภาพ และเป็นธรรม
(๓) ดำรงความหลากหลายทางชีวภาพ และสร้างความมั่นคงของฐานทรัพยากรธรรมชาติและคุณภาพสิ่งแวดล้อม
(๔) พัฒนาระบบบริหารจัดการประเทศให้เกิดธรรมาภิบาลภายใต้ระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
ประเด็นยุทธศาสตร์ของประเทศ
๑.สังคมและโครงสร้างพื้นฐาน
๒.พลังงานและสิ่งแวดล้อม
๓.เกษตรและอุตสาหกรรม
๔.เศรษฐกิจและการค้า
๒.๒ แผนการบริหารราชการแผ่นดิน
นโยบายที่ ๑ นโยบายเร่งด่วนที่ดำเนินการในปีแรก
นโยบายที่ ๒ นโยบายความมั่นคงของรัฐ
นโยบายที่ ๓ นโยบายสังคมและคุณภาพชีวิต
นโยบายที่ ๔ นโยบายเศรษฐกิจ
นโยบายที่ ๕ นโยบายที่ดินทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
นโยบายที่ ๖ นโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีการวิจัยและนวัตกรรม
นโยบายที่ ๗ นโยบายการต่างประเทศและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
นโยบายที่ ๘ นโยบายการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
๒.๓ แผนพัฒนาจังหวัด
วิสัยทัศน์ “นครชีวิตแห่งความมั่งคั่ง” ยุทธศาสตร์ (พ.ศ. ๒๕๕๔-๒๔๕๔)
๑.การสร้างความมั่นคงอย่างยืนตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
๒.การสร้างสังคมอยู่เย็นเป็นสุข
๓.ดำรงความเป็นฐานทรัพยากร ธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและพลังงานสะอาด
๔.การสร้างความมั่นคงปลอดภัยและความสงบสุขของประชาชน
๕.การสร้างประสิทธิภาพ ความโปร่งใส เป็นประชาธิปไตยและเป็นธรรมในการให้บริการ
ยุทธศาสตร์ที่ ๑ การสร้างความมั่นคงอย่างยั่งยืนตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
๑.๑ ส่งเสริมการพัฒนาเชียงใหม่เป็นนครแห่งวัฒนธรรมล้านนา น่าอยู่ น่าเที่ยว
๑.๒ ส่งเสริมและพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนท้องถิ่นเพื่อกระจายรายได้อย่างเป็นธรรม
๑.๓ ส่งเสริมและพัฒนาเชียงใหม่เป็นผู้นำด้านความหลากหลายในการผลิตด้านการเกษตรและ อุตสาหกรรมเกษตรแปรรูป
๑.๔ ส่งเสริมการค้าการลงทุน
ยุทธศาสตร์ที่ ๒ การสร้างสังคมอยู่เย็นเป็นสุข ประกอบด้วย ๑ กลยุทธ์ดังนี้
๒.๑ มุ่งพัฒนาครอบครัวและชุมชนให้อยู่เย็นเป็นสุขบนพื้นฐานศาสนา วัฒนธรรมและการบูรณาการเครือข่าย
ยุทธศาสตร์ที่ ๓ ดำรงความเป็นฐานทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและพนักงานสะอาด ประกอบด้วย
๓.๑ มุ่งพัฒนาในความพร้อมในการรับมือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
๓.๒ มุ่งเน้นการลดข้อขัดแย้งในการใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมและการใช้พลังงาน
ยุทธศาสตร์ที่ ๔ การสร้างความมั่นคงปลอดภัย และความสงบสุขของประชาชน ประกอบด้วยยุทธศาสตร์
๔.๑ มุ่งบูรณาการหน่วยงานด้านความมั่นคงและส่งเสริม สนับสนุนความร่วมมือทุกภาคส่วน
ยุทธศาสตร์ที่ ๕ การสร้างประสิทธิภาพ ความโปร่งใส เป็นประชาธิปไตยและเป็นธรรมในการให้บริการ ประกอบด้วย
๕.๑ พัฒนาความสามารถบุคลากรมุ่งเน้นจริยธรรม ICT และการให้บริหารที่เป็นเลิศประกอบด้วย
๕.๒ เสริมสร้างความพร้อมในระบบประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วมในทุกภาคส่วน
๕.๓ ผลักดันการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์เชิงบูรณาการ
นายอินทปัตร บุญทวี
ปลัดเทศบาล 053-489406-7 ต่อ 31
ยุทธศาสตร์การพัฒนา
ยุทธศาสตร์การพัฒนา
ยุทธศาสตร์การพัฒนา เทศบาลตำบลแม่วาง
๑. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐาน
แนวทางการพัฒนา
๑.๑ การก่อสร้าง ปรับปรุง บำรุงรักษาถนน สะพาน ทางเท้า และท่อระบายน้ำ
๑.๒ การก่อสร้าง ปรับปรุง บำรุงรักษาสาธารณูปโภค สาธารณูปการและสิ่งก่อสร้างอื่นๆ
๑.๓ การพัฒนาระบบจราจร
๑.๔ การพัฒนาแหล่งน้ำเพื่อการอุปโภคและบริโภค
๑.๕ การวางและจัดทำผังเมือง
๒. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
แนวทางการพัฒนา
๒.๑ การพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐานในระบบ
๒.๒ การพัฒนาการศึกษานอกระบบ
๒.๓ การส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น
๒.๔ การส่งเสริมพัฒนาการศึกษาของเทศบาล
๒.๕ การส่งเสริมศาสนา วัฒนธรรมและประเพณีอันดีงามของท้องถิ่น
๓. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
แนวทางการพัฒนา
๓.๑ การบำบัดและกำจัดขยะ
๓.๒ การบำบัดและฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
๔. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการสร้างสังคมเข้มแข็งและยึดมั่นในหลักธรรมภิบาล
แนวทางการพัฒนา
๔.๑ การพัฒนาบริหารจัดการขององค์กรปกครองท้องถิ่นให้โปร่งใสตรวจสอบได้
๔.๒ การพัฒนาและเสริมสร้างความเข้มแข็งและพัฒนาศักยภาพของชุมชนประชาคมในทุกด้าน
๕. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านความมั่นคง การเมือง การปกครอง การบริหารจัดการ และการมีส่วนร่วมของประชาชน
แนวทางการพัฒนา
๕.๑ การพัฒนาและเพิ่มประสิทธิภาพของบุคลากรด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
๕.๒ การสนับสนุนกิจกรรมการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยและจัดหาตรวจสอบอุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้
๕.๓ การพัฒนาบุคลากรและการบริการให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
๕.๔ การพัฒนาและปรับปรุง อาคารสถานที่ เครื่องมือ เครื่องใช้ในการบริหารงาน และการทำงานของเทศบาล
๕.๕ การส่งเสริมและสนับสนุนการปกครองในระบอบประชาธิปไตยและการจัดกิจกรรมในวันสำคัญ ต่าง ๆ
๕.๖ การส่งเสริมและสนับสนุนให้ชุมชนมีความเข้มแข็ง
๖. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการส่งเสริมสุขภาพอนามัยและชีวิตของประชาชน
แนวทางการพัฒนา
๖.๑ การส่งเสริมสุขภาพอนามัยของประชาชน
๖.๒ การจัดกิจกรรมด้านการควบคุม/ป้องกันโรคพร้อมทั้งการเฝ้าระวัง
๖.๓ การจัดกิจกรรมด้านสุขาภิบาลมีการปรับปรุงด้านสุขาภิบาลให้ถูกสุขลักษณะ
๖.๔ การพัฒนาฟื้นฟูสภาพให้กับผู้ได้รับผลกระทบต่อสุขภาพ
๖.๕ การส่งเสริมกีฬาและนันทนาการ
๗. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการท่องเที่ยว
แนวทางการพัฒนา
๗.๑ การส่งเสริมการท่องเที่ยว
๘. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านเศรษฐกิจและการแก้ไขปัญหาความยากจน
แนวทางการพัฒนา
๘.๑ การส่งเสริมและสนับสนุนการประกอบอาชีพหลักและอาชีพเสริม
๘.๒ การส่งเสริมและสนับสนุนการเกษตรผสมผสาน(เกษตรทฤษฎีใหม่)
๘.๓ การส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชนมีส่งร่วมในการแก้ไขปัญหาความยากจน
๘.๔ การเกษตรธรรมชาติ
๙. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
แนวทางการพัฒนา
๙.๑ การขยายโอกาสเข้าถึงเทคโนโลยี
๙.๒ การจัดหาอุปกรณ์ที่เกี่ยวกับระบบเทคโนโลยีสารสนเทศสาธารณะและประชาชนให้สามารถเข้าถึงบริการสาธารณะได้อย่างเสมอภาค
ยุทธศาสตร์การพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดเชียงใหม่
วิสัยทัศน์องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดเชียงใหม่
“เป็นกลไกในการและตอบสนองนโยบายของรัฐ และเป็นองค์กรหลักในการพัฒนาท้องถิ่น บนพื้นฐานของความเข้าใจในปัญหาและศักยภาพของท้องถิ่น ด้วยการบูรณาการ การบริหารจัดการในพื้นที่อย่างมีประสิทธิภาพ”
กรอบยุทธศาสตร์การพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
๑.การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน
๒.การพัฒนาเศรษฐกิจตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปสู่ความยั่งยืน
๓.การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและระบบนิเวศน์อย่างยั่งยืน
๔.การอนุรักษ์ ฟื้นฟู และสืบสาน ศิลปวัฒนธรรม จารีตประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่น
๕.การพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน
๖.การจัดระเบียบชุมชน สังคมและการรักษาความสงบเรียบร้อย
๗.การพัฒนาการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี
ทิศทางการพัฒนา
๒.ทิศทางการพัฒนา
๒.๑ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
แผนพัฒนาประเทศในตามแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๐ มุ่งสู่ “สังคมอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกัน”
ภายใต้แนวปฏิบัติของ “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”
เห็นควรกำหนดพันธกิจของการพัฒนาประเทศ ดังนี้
(๑) พัฒนาคนให้มีคุณภาพ คุณธรรมนำความรอบรู้อย่างเท่าทัน
(๒) เสริมสร้างเศรษฐกิจให้มีคุณภาพ เสถียรภาพ และเป็นธรรม
(๓) ดำรงความหลากหลายทางชีวภาพ และสร้างความมั่นคงของฐานทรัพยากรธรรมชาติและคุณภาพสิ่งแวดล้อม
(๔) พัฒนาระบบบริหารจัดการประเทศให้เกิดธรรมาภิบาลภายใต้ระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
ประเด็นยุทธศาสตร์ของประเทศ
๑.สังคมและโครงสร้างพื้นฐาน
๒.พลังงานและสิ่งแวดล้อม
๓.เกษตรและอุตสาหกรรม
๔.เศรษฐกิจและการค้า
๒.๒ แผนการบริหารราชการแผ่นดิน
นโยบายที่ ๑ นโยบายเร่งด่วนที่ดำเนินการในปีแรก
นโยบายที่ ๒ นโยบายความมั่นคงของรัฐ
นโยบายที่ ๓ นโยบายสังคมและคุณภาพชีวิต
นโยบายที่ ๔ นโยบายเศรษฐกิจ
นโยบายที่ ๕ นโยบายที่ดินทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
นโยบายที่ ๖ นโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีการวิจัยและนวัตกรรม
นโยบายที่ ๗ นโยบายการต่างประเทศและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
นโยบายที่ ๘ นโยบายการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
๒.๓ แผนพัฒนาจังหวัด
วิสัยทัศน์ “นครชีวิตแห่งความมั่งคั่ง” ยุทธศาสตร์ (พ.ศ. ๒๕๕๔-๒๔๕๔)
๑.การสร้างความมั่นคงอย่างยืนตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
๒.การสร้างสังคมอยู่เย็นเป็นสุข
๓.ดำรงความเป็นฐานทรัพยากร ธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและพลังงานสะอาด
๔.การสร้างความมั่นคงปลอดภัยและความสงบสุขของประชาชน
๕.การสร้างประสิทธิภาพ ความโปร่งใส เป็นประชาธิปไตยและเป็นธรรมในการให้บริการ
ยุทธศาสตร์ที่ ๑ การสร้างความมั่นคงอย่างยั่งยืนตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
๑.๑ ส่งเสริมการพัฒนาเชียงใหม่เป็นนครแห่งวัฒนธรรมล้านนา น่าอยู่ น่าเที่ยว
๑.๒ ส่งเสริมและพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนท้องถิ่นเพื่อกระจายรายได้อย่างเป็นธรรม
๑.๓ ส่งเสริมและพัฒนาเชียงใหม่เป็นผู้นำด้านความหลากหลายในการผลิตด้านการเกษตรและ อุตสาหกรรมเกษตรแปรรูป
๑.๔ ส่งเสริมการค้าการลงทุน
ยุทธศาสตร์ที่ ๒ การสร้างสังคมอยู่เย็นเป็นสุข ประกอบด้วย ๑ กลยุทธ์ดังนี้
๒.๑ มุ่งพัฒนาครอบครัวและชุมชนให้อยู่เย็นเป็นสุขบนพื้นฐานศาสนา วัฒนธรรมและการบูรณาการเครือข่าย
ยุทธศาสตร์ที่ ๓ ดำรงความเป็นฐานทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและพนักงานสะอาด ประกอบด้วย
๓.๑ มุ่งพัฒนาในความพร้อมในการรับมือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
๓.๒ มุ่งเน้นการลดข้อขัดแย้งในการใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมและการใช้พลังงาน
ยุทธศาสตร์ที่ ๔ การสร้างความมั่นคงปลอดภัย และความสงบสุขของประชาชน ประกอบด้วยยุทธศาสตร์
๔.๑ มุ่งบูรณาการหน่วยงานด้านความมั่นคงและส่งเสริม สนับสนุนความร่วมมือทุกภาคส่วน
ยุทธศาสตร์ที่ ๕ การสร้างประสิทธิภาพ ความโปร่งใส เป็นประชาธิปไตยและเป็นธรรมในการให้บริการ ประกอบด้วย
๕.๑ พัฒนาความสามารถบุคลากรมุ่งเน้นจริยธรรม ICT และการให้บริหารที่เป็นเลิศประกอบด้วย
๕.๒ เสริมสร้างความพร้อมในระบบประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วมในทุกภาคส่วน
๕.๓ ผลักดันการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์เชิงบูรณาการ